ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแส ม.5 หากคุณกำลังมองหาเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแส ม.5มาสำรวจหัวข้อไฟฟ้ากระแส ม.5ในโพสต์ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส ep.9 (สรุปเตรียมสอบ)นี้.
Table of Contents
เอกสารที่เกี่ยวข้องไฟฟ้ากระแส ม.5ที่สมบูรณ์ที่สุดในฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส ep.9 (สรุปเตรียมสอบ)
ที่เว็บไซต์Pakamas Blogคุณสามารถเพิ่มความรู้อื่น ๆ นอกเหนือจากไฟฟ้ากระแส ม.5เพื่อข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่ามากขึ้นสำหรับคุณ ที่เพจPakamas Blog เราอัปเดตข่าวสารใหม่และแม่นยำสำหรับผู้ใช้อย่างต่อเนื่อง, ด้วยความหวังว่าจะให้บริการข้อมูลที่ละเอียดที่สุดแก่ผู้ใช้งาน ช่วยให้ผู้ใช้อัปเดตข้อมูลออนไลน์ได้อย่างแม่นยำที่สุด.
เนื้อหาบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อไฟฟ้ากระแส ม.5
ฝากติดตามช่อง Physics by Teacher Note ด้วยนะครับ ในการโหลดเอกสาร ให้คลิก
รูปภาพที่เกี่ยวข้องบางส่วนพร้อมข้อมูลเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแส ม.5

นอกจากการดูข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้แล้ว ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส ep.9 (สรุปเตรียมสอบ) คุณสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ด้านล่าง
คำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแส ม.5
#ฟสกส #ม5 #บทท #ไฟฟากระแส #ep9 #สรปเตรยมสอบ.
ฟิสิกส์,ม.5,บทที่ 14,ไฟฟ้ากระแส,กระแสไฟฟ้า,ครูโน้ต,เทอม2,สรุปเตรียมสอบ,ไฟฟ้ากระแส ม.5.
ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส ep.9 (สรุปเตรียมสอบ).
ไฟฟ้ากระแส ม.5.
หวังว่าเนื้อหาบางส่วนที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณที่ติดตามไฟฟ้ากระแส ม.5ข้อมูล
ครูคะ มีลิงค์ชีทมั้ยคะ🙇🏻♀️
พลังงานทดแทนหมายถึงพลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล อาทิ ถ่านหิน ปิโตรเลียม และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งกำลังจะหมดไปในอนาคตอันใกล้ อีกทั้งยังปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณมหาศาล
นายเจษฎาภรณ์ แซ่จึง เลขที่1
พลังงานน้ำ หมายถึง การเคลื่อนที่ของน้ำจากที่สูงสู่ที่ต่ำ รูปแบบที่คุ้นเคยคือ การสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำเพื่อสะสมพลังงานศักย์ เมื่อเปิดประตูที่ปิดกั้นทางเดินของน้ำ พลังงานศักย์ที่สะสมอยู่ จะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ สามารถนำไปฉุดกังหัน และต่อเชื่อมเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น
พลังงานของมวลน้ำที่เคลื่อนที่ มนุษย์นำมาใช้โดยได้มีการสร้างกังหันน้ำ (Water Wheel) เพื่อใช้ในการงานต่างๆ ในอินเดียและชาวโรมันก็ได้มีการประยุกต์ใช้เพื่อใช้ในการโม่แป้งจากเมล็ดพืชในจีนใช้พลังงานน้ำเพื่อสร้าง Pot Wheel เพื่อใช้ในวิดน้ำเพื่อการชลประทาน โดยในช่วงทศวรรษ 1830 ซึ่งเป็นยุคที่การสร้างคลองเฟื่องฟูถึงขีดสุดก็ได้มีการประยุกต์เอาพลังงานน้ำมาใช้เพื่อขับเคลื่อนเรือขึ้นและลงจากเขา โดยอาศัยรางรถไฟที่ลาดเอียง (Inclined Plane Railroad : Funicular) พลังงานน้ำเป็นพลังงานที่ได้จากแรงอัดดันของน้ำ เป็นการนำพลังงานจากแรงของน้ำที่เคลื่อนที่หรือไหลจากบริเวณที่สูงกว่าลงสู่ตำแหน่งที่ต่ำกว่า โดยอาศัยหลักการของแรงโน้มถ่วงของโลก พลังงานศักย์ของน้ำถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้คือกังหันน้ำ (Turbines) น้ำที่มีความเร็วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วให้พลังงานจลน์ทำให้กังหันน้ำหมุนขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
น.ส.ยุพาพรรณ จันทร์อ่ำ เลขที่28 ม.5/1
พลังงานน้ำ เป็นรูปแบบหนึ่งการสร้างกำลังโดยการอาศัยพลังงานของน้ำที่เคลื่อนที่ ปัจจุบันนี้พลังงานน้ำส่วนมากจะถูกใช้เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้พลังงานน้ำยังถูกนำไปใช้ในกรมชลประทาน การสี การทอผ้า และใช้ในโรงเลื่อย พลังงานของมวลน้ำที่เคลื่อนที่ได้ถูกมนุษย์นำมาใช้มานานแล้วนับศตวรรษโดยได้มีการสร้างกังหันน้ำ (Water Wheel) เพื่อใช้ในการงานต่าง ๆ ในอินเดียและชาวโรมันก็ได้มีการประยุกต์ใช้เพื่อใช้ในการโม่แป้งจากเมล็ดพืชต่าง ๆ ส่วนผู้คนในจีนและตะวันออกไกลก็ได้มีการใช้พลังงานน้ำเพื่อสร้าง Pot Wheel เพื่อใช้ในวิดน้ำเพื่อการชลประทาน โดยในช่วงทศวรรษ 1830 ซึ่งเป็นยุคที่การสร้างคลองเฟื่องฟูถึงขีดสุดก็ได้มีการประยุกต์เอาพลังงานน้ำมาใช้เพื่อขับเคลื่อนเรือขึ้นและลงจากเขาโดยอาศัยรางรถไฟที่ลาดเอียง (Inclined Plane Railroad : Funicular) ตัวอย่างของการประยุกต์ใช้แบบนี้อยู่ที่คลอง Tyrone ในไอร์แลนด์เหนือ อย่างไรก็ตามเนื่องจากการประยุกต์ใช้พลังงานน้ำในยุคแรกนั้นเป็นการส่งต่อพลังงานโดยตรง (Direct Mechanical Power Transmission) ทำให้การใช้พลังงานน้ำในยุคนั้นต้องอยู่ใกล้แหล่งพลังงาน เช่น น้ำตก เป็นต้น ปัจจุบันนี้พลังงานน้ำได้ถูกใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้าทำให้สามารถส่งต่อพลังงานไปใช้ในที่ที่ห่างจากแหล่งน้ำได้
นางสาวสุชาดา สามฉิมโฉม ม.5/1 เลขที่ 32
พลังน้ำ คือ ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังน้ำ โดยใช้พลังงานจลน์ของน้ำซึ่งเกิดจากการปล่อยน้ำจากที่สูงหรือการไหลของน้ำ หรือการขึ้น-ลงของคลื่น ไปหมุนกังหันน้ำ (Turbine) และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า โดยพลังงานที่ได้จากไฟฟ้าพลังน้ำนี้ ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำ ความแตกต่างของระดับน้ำ และประสิทธิภาพของกังหันน้ำและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
นางสาวอภิชดา สีหนู เลขที่35 ม.5/1
เพราะต้องใช้น้ำปริมาณมาก ในกระบวนการผลิตและระบายความร้อนเหลือใช้จากการควบแน่นไอน้ำ
นางสาวนงนุช ชื่นชมยิ่ง ม.5/1 เลขที่ 22
1.พัดลมระบายอากาศ
2.ฉนวนกันความร้อน
นางสาวปัทมา บุตรดี ม.5/2 เลขที่25
– เทคโนโลยีที่ช่วยลดการถ่ายโอนความร้อนเข้า ภายในอาคาร
ระบบผนังเย็น จะป้องกันความร้อนจากผนัง และ ป้องกันความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวอาคาร
ระแนงบานเกล็ดไวนิล ติดตั้งด้วยคลิปล็อกน้ำ หนักเบา ทนทุกสภาพอากาศและช่วยกรองแสงได้
นางสาววรฤทัย เนียมหมวด เลขที่ 39 ม.5/2
พลังงานน้ำเกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักยภาพให้เป็นพลังงานกล อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้ คือ กังหันน้ำ น้ำที่มีความเร็วสูงจะผ่านเข้าท่อแล้วให้พลังงานกลกลับกังหันน้ำไปหมุนขับเคลื่อนกำเนิดไฟฟ้า มีลำดับการเปลี่ยนพลังงานโดย
1.เก็บน้ำไว้ในอ่างน้ำโดยการก่อสร้างเขื่อน เพื่อให้ระดับน้ำที่เก็บอยู่สูงกว่าโรงไฟฟ้า
2.ปล่อยน้ำลงมาตามท่อไปยังอาคารโรงไฟฟ้า โดยควบคุมปริมาณน้ำให้ได้ตามต้องการ
3.น้ำจะถูกส่งเข้าเครื่องกังหันลมพลักดับใบพัดของกังหันน้ำ ทำให้กังหันหมุนด้วยความเร็วสูง ซึ่งเเบ่งเป็น 2 ประเภท คือ กังหันน้ำประเภทหัวฉีดและกังหันน้ำประเภทอาคัยแรงปฎิกิริยา
4.เพลาของเครื่องกังหัน ที่ต่อเข้ากับเพลาของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะหมุนทำให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหมุนตามได้ด้วย
นายอภิรักษ์ เหล่าสิม ม.5/1 เลขที่ 15
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์(Nuclear Reactor) คือ เครื่องผลิตพลังงานนิวเคลียร์ที่สามารถควบคุมการแบ่งแยกนิวเคลียร์และปฏิกิริยาลูกโซ่ให้เกิดขึ้นในอัตราที่พอเหมาะ ทำให้สามารถนำเอาพลังงานความร้อน นิวตรอน และรังสีที่เกิดขึ้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้
นางสาวจุตฑามาส ไทรแก้ว เลขที่18 ม.5/1
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ คือ ระบบที่จะนำพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนหลักๆ 4 ส่วนคือ
1.เตาปฏิกรณ์
2.ระบบระบายความร้อน
3.ระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า
4.ระบบความปลอดภัย
พลังงานที่ผลิตเกิดขึ้นภายในเตาปฏิกรณ์ จะถูกนำออกมาโดยตัวนำความร้อน ซึ่งก็คือของไหลเช่น น้ำ,เกลือหลอมละลายหรือก๊าซคาร์บอนไดอออกไซค์ ของไหลจะรับความร้อนจากภายในเตาปฏิกรณ์ จนตัวมันเองเดือดเป็นไอหรือเป็นตัวกลางในการนำความร้อนไปยังวงจรถัดไปเพื่อผลิตไอน้ำ ไอน้ำที่ได้จะถูกส่งผ่านท่อไปยังระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า ที่ไอน้ำจะถูกนำไปขับกังหันไอน้ำที่จะใช้ในการหมุนเครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้าต่อไป
นางสาวธัญสินี ชัยเหี้ยม ม.5/2 เลขที่20
พลังงานความร้อนใต้พิภพ
คือ พลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความร้อนที่ถูกกักเก็บอยู่ภายใต้ผิวโลก โดยปกติแล้วอุณหภูมิภายใต้ผิวโลกจะเพิ่มขึ้นตามความลึก แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่
1. แหล่งที่เป็นไอน้ำส่วนใหญ่ เป็นแหล่งกักเก็บความร้อนที่ประกอบด้วยไอน้ำมากกว่า 95% มักอยู่ใกล้กับหินหลอมเหลวในที่ตื้น
2. แหล่งที่เป็นน้ำร้อนส่วนใหญ่ อุณหภูมิน้ำ
ร้อนมีตั้งแต่ 100 องศาเซลเซียสขึ้นไป ระบบนี้พบมากที่สุดในโลก
3. แหล่งหินร้อนแห้ง เป็นแหล่งสะสมความร้อนที่เป็นหินเนื้อแน่นแต่ไม่มีน้ำร้อนหรือไอน้ำไหล ถ้าจะนำมาใช้ จำเป็นที่จะต้องอัดน้ำเย็นลงไป
นางสาวสุธีรา บุญรอด ม.5/1 เลขที่33
ไม่ได้ เพราะอุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า สารกึ่งตัวนำเหล่านี้มีคุณสมบัติเหมือนกันคือ เมื่อตัวมันได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง ก็จะเปลี่ยนตัวเองเป็นตัวนำไฟฟ้า โดยจะแยกเป็นประจุไฟฟ้าบวกและลบ เพื่อให้เกิดแรงดันไฟฟ้าที่ขั้วทั้งสองของเซลล์แสงอาทิตย์ และถ้าเรานำขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสตรง(DC) กระแสไฟฟ้าก็จะไหลเข้าสู่อุปกรณ์เหล่านั้น ทำให้อุปกรณ์เหล่านั้นทำงาน
นายธนกร อินทร ม.5/2 เลขที่ 6
พลังงานน้ำ เป็นพลังงานรูปแบบหนึ่ง ที่เกิดจากแสงอาทิตย์ให้ความร้อนจนทำให้น้ำเกิดเป็นไอน้ำที่ลอยตัวสูงขึ้น(พลังงานศักย์) เมื่อไอน้ำเย็นตัวลงจะทำให้ตกลงมาเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก โดยผู้คนคิดค้นได้สร้างสิ่งที่อาศัยแรงขับเคลื่อนโดยใช้น้ำ ปัจจุบันพลังน้ำได้พัฒนาใช้ในการผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้พลังงานน้ำได้ถูกนำมาใช้ในกรมชลประทาน ใช้ในการสี ทอผ้า และโรงเลื่อย ซึ่งมนุษย์ได้นำมาใช้ประโยชน์มานานแล้ว โดยคิดค้นกังหันน้ำ(Water Wheel) เพื่อนำมาใช้งานต่างๆหลายประเภท เช่น การโม่แป้งจากเมล็ดต่างๆ ประโยชน์ของการใช้พลังน้ำ ซึ่งมีหลายอย่างมีดังนี้ เป็นพลังงานทดแทนที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ได้เรื่อยๆ นั้นก็คือเมื่อเราใช้น้ำไปแล้วเราก็จะปล่อยกลับไปสู่แหล่งน้ำหรือทะเล สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้รวดเร็ว โดยใช้คู่กับเครื่องกลพลังน้ำ และยังสามารถควบคุมปริมานการผลิตพลังงานได้ตามที่เราต้องการ ที่สำคัญเครื่องกลพลังน้ำจะมีความสึกหรอน้อยกว่าประเภทอื่นๆจึงทำให้มีอายุการใช้งานนานขึ้นตามไปด้วย
น.ส.พลอยฉัตรพร จันทร์แจ้ง ม.5/2 เลขที่38
เพราะต้องใช้น้ำปริมาณมาก ในกระบวนการผลิตและระบายความร้อนเหลือใช้จากการควบแน่นไอน้ำ
นางสาว ธันยพร หมื่นจง ม.5/2 เลขที่21
♡พลังงานจากขยะ
พลังงานจากขยะ คือ พลังงานที่ได้จากขยะ ขยะชุมชน และขยะมูลฝอยจากการอุปโภค กระบวนการผลิต หรือการดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในครัวเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากขยะถือเป็นแหล่งพลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงเนื่องจากสามารถนำไปผลิตเป็นพลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้า ก๊าซชีวภาพ และสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทดแทนพลังงานจากแหล่งฟอสซิลได้เป็นอย่างดี
♡โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ
โรงไฟฟ้าเอวาฯ ใช้วัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรม 6 ประเภท ได้แก่ เศษกระดาษ เศษไม้ เศษผ้า เศษพลาสติก เศษหนัง เศษยาง (ยกเว้นเศษยางรถยนต์) ที่ผ่านการแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงขยะ RDF แล้วมาผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยเศษวัสดุที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงขยะ RDF ยังไม่ผ่านการใช้งานทำให้ไม่มีปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็น ไม่มีสารประกอบจากวัตถุอันตราย และมีค่าความร้อนสูงที่นำไปผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ดี ซึ่งค่าความร้อนของเชื้อเพลิงขยะ RDF อยู่ที่ 3,500 – 5,000 กิโลแคลอรี่ต่อกิโลกรัม
นางสาวชลธิชา ชีวะธรรมรัตน์ ชั้นม.5/1 เลขที่39
เป็นเซลล์ไฟฟ้าที่สามารถแปลงรูปพลังงานจากแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง โดยทั่วไปเซลล์สุริยะประกอบด้วยแผ่นกึ่งตัวนำ 2 ชั้น
ชั้นบนจะบางกว่าชั้นล่าง เพื่อให้แสงอาทิตย์สามารถส่องทะลุผ่านไปถึงชั้นล่างได้ แสงอาทิตย์จะเป็นตัวทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า เมื่อต่อวงจรไฟฟ้าจะเกิดกระแสไฟฟ้าไหลออกจากแผ่นบนผ่านหลอดไฟจะสว่าง แล้วกระแสไฟฟ้าจะไหลกลับเข้าที่แผ่นล่าง
นายสุธัช วงศ์อารีย์ ม.5/2 เลขที่12
พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้แทนพลังงานเชื้อเพลิง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.พลังงานทดแทนที่ใช้แล้วหมดไปหรือพลังงานสิ้นเปลือง เช่น พลังงานถ่านหิน พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานหินน้ำมัน
2.พลังงานทดแทนที่ไม่มีวันหมดหรือนำมาหมุนเวียนใช้ใหม่ได้ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ
นายจักรภัทร์ เพชรแอว ม.5/1 เลขที่ 2
ตัวอย่างเทคโนโลยีที่ช่วยลดการถ่ายโอนความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ภายในอาคารหรือที่พักอาศัย2ชนิด
1.การระเหยหรือความร้อนที่กลายเป็นไอ และในขณะที่เกิดการระเหย การเปลี่ยนแปลงสถานะ ทำให้สามารถช่วยลดความร้อนในบริเวณนั้นได้
2.ความร้อนจากดวงอาทิตย์ช่วยในการทำให้ผ้าที่ตากแห้ง
นางสาว พัชรพร สูงสันเขต ม.5/2 เลขที่ 26
เพราะต้องใช้น้ำปริมาณมากในกระบวนการผลิตและระบายความร้อนเหลือใช้จากการควบแน่นไอน้ำ
นางสาวดวงหทัย แซ่ลิ้ม ม.5/1 เลขที่ 21
เทคโนโลยีที่ช่วยลดการถ่ายโอนความร้อนเข้าสู่ภายในอาคาร
1.ระแนงบานเกล็ดไวนิล
2.สปริงเกอร์
น.ส.พัทธ์ธีรา ฉ่ำเกตุ เลขที่ 26 ม.5/1
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานของแสงและพลังงานของความร้อนที่แผ่รังสีมาจากดวงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ พลังงานที่เกิดจากแสงและพลังงานที่เกิดจากความร้อน
นางสาว มัญชุพร สรงพรมทิพย์ ชั้น5/2 เลขที่29
💨พลังงานชีวมวลคือ การผลิตพลังงานด้วยวัสดุชีวมวล ทั้งจากรูปแบบการหมัก การเผา หรือกรรมวิธีอื่นๆจะใช้งานมีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิตและสามารถใช้ในการผลิตพลังงานด้วยวิธีการที่เห็นผลและยั่งยืน ทำให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
🍀พลังงานชีวภาพคือ การนำวัสดุทางชีวภาพมาย่อยสลายด้วยแบคทีเรียในสภาวะไร้ออกซิเจน เพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ ก่อนนำไปใช้งานโดยตรง การใช้งานจะถูกจำกัดเลยว่าสิ่งที่ได้จะต้องเป็นก๊าซเท่านั้น และจะถูกนำไปประยุกต์ใช้งานต่อในภายหลัง
นางสาวสุทธิดา ล่าบ้านหลวง ม.5/2 เลขที่35
พลังงานลม
การนำลมมาใช้ประโยชน์จะต้องอาศัยเครื่องจักรกลสำคัญ คือ กังหันลม ในการเปลี่ยน พลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ของลม เป็นพลังงานกลก่อนนำไปใช้ประโยชน์ ที่สำคัญพลังงานลม ใช้ไม่มีวันหมด และกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากลมยังไม่ปล่อยของเสียที่เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อม แต่การใช้พลังงานลมเพื่อการผลิตไฟฟ้าความเร็วลมจะต้องสม่ำเสมอ หรือกำลังลม เฉลี่ยทั้งปีควรไม่น้อยกว่าระดับ 6.4 – 7.0 เมตรต่อวินาที ที่ความสูง 50 เมตร ถึงจะสามารถ ผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมได้ดี ภูมิประเทศที่มีความเร็วลมเหมาะสม ได้แก่ บริเวณฝั่งทะเลแถบยุโรป เหนือ หรือช่องเขาในอเมริกา
นางสาววันวิสา ศรีสงวน ม.5/1 เลขที่ 31
คำตอบ
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ คือ ระบบที่จะนำพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร์มาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์โดยทั่วไปประกอบด้วยส่วนหลักๆ 4 ส่วนคือ
1.เตาปฏิกรณ์
2.ระบบระบายความร้อน
3.ระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า
4.ระบบความปลอดภัย
พลังงานที่ผลิตเกิดขึ้นภายในเตาปฏิกรณ์ จะถูกนำออกมาโดยตัวนำความร้อน ซึ่งก็คือของไหลเช่น น้ำ,เกลือหลอมละลายหรือก๊าซคาร์บอนไดอออกไซค์ ของไหลจะรับความร้อนจากภายในเตาปฏิกรณ์ จนตัวมันเองเดือดเป็นไอหรือเป็นตัวกลางในการนำความร้อนไปยังวงจรถัดไปเพื่อผลิตไอน้ำ ไอน้ำที่ได้จะถูกส่งผ่านท่อไปยังระบบกำเนิดกระแสไฟฟ้า ที่ไอน้ำจะถูกนำไปขับกังหันไอน้ำที่จะใช้ในการหมุนเครื่องกำเนิดกระแสไฟฟ้าต่อไป
นางสาวจุฬาลักษณ์ ทองแท่งใหญ่ 5/1 19
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแบบหนึ่งที่ใช้แหล่งพลังงานความร้อนจากเครื่องปฏิกรณ์ที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการผลิตไอน้ำแรงดันสูงจ่ายให้กับกังหันไอน้ำ กังหันไอน้ำจะไปหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าออกมา
นางสาว ขวัญจิรา อุ้ยคำตา เลขที่19 ม.5/2
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำหมายถึง การเคลื่อนที่ของน้ำจากที่สูงสู่ที่ต่ำ รูปแบบที่คุ้นเคยคือ การสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำเพื่อสะสมพลังงานศักย์ เมื่อเปิดประตูที่ปิดกั้นทางเดินของน้ำ พลังงานศักย์ที่สะสมอยู่ จะเปลี่ยนเป็นพลังงานจลน์ สามารถนำไปฉุดกังหัน และต่อเชื่อมเข้ากับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น
ข้อเสียของการใช้พลังงานน้ำ
1. ในการสร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บน้ำนั้น จะต้องมีการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้เป็นบริเวณกว้าง
2. ต้องใช้เงินลงทุนสูงในการสร้างเขื่อนหรือพัฒนาแหล่งพลังงานน้ำเพื่อให้ได้ลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสม เช่น ต้องการพื้นที่ที่มีระดับท้องน้ำลึกๆ สำหรับการสร้างเขื่อนสูงโดยที่มีความยาวไม่มากนัก ซึ่งพื้นที่เหล่านี้มักจะอยู่ในป่าหรือช่องเขาแคบๆ
3. เนื่องจากแหล่งพลังงานน้ำส่วนใหญ่อยู่ในที่ห่างไกลชุมชน จึงมักเกิดปัญหาในเรื่องการจัดหาบุคลากรไปปฏิบัติงาน รวมทั้งการซ่อมแซม การบำรุงรักษาสิ่งก่อสร้างและอุปกรณ์ต่างๆไม่ค่อยสะดวกนักเพราะการคมนาคมไม่สะดวก
4. ในบางโอกาสอาจเกิดปัญหาจากสภาวะของน้ำฝนที่ตกลงสู่แหล่งกักเก็บน้ำ มักมีความไม่แน่นอนทำให้เกิดผลกระทบต่อการผลิตไฟฟ้าได้
ประโยชน์ของโรงไฟฟ้าพลังงานจากน้ำ
1. มีอายุการใช้งานประมาณ 50 ปี ขึ้นไป
2.มีประสิทธิภาพในการเดินเครื่องสูงสุด สามารถหยุดและเดินเครื่องได้อย่างฉับพลัน
3.ต้นทุนในการผลิตต่ำ เพราะใช้น้ำธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานในการเดินเครื่อง
4. น้ำเป็นแหล่งพลังงานภายในประเทศที่เกิดจากฝน ซึ่งมีการหมุนเวียนตามธรรมชาติไม่มีวันหมดสิ้น
5. เป็นแหล่งพลังงานบริสุทธิ์ไม่มีมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
6. อุปกรณ์ต่างๆ ของระบบพลังงานน้ำส่วนใหญ่จะมีความทนทานสูงมีอายุการใช้งานนาน
7. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานในการใช้พลังงานจากน้ำค่อนข้างต่ำ เพราะไม่ต้องสิ้นเปลืองค่าเชื้อเพลิง และเนื่องจากไม่มีการปล่อยมลพิษจึงไม่ต้องจ่ายค่ากำจัดมลพิษ
นางสาว อรปรียา มูลสาร เลขที่ 37ม.5/1
การใช้พลังงานทดแทนในกัวข้อพลังงานความร้อนใต้พิภพ คือ เป็นการนำเอาพลังงานความร้อนที่อยู่ใต้ดินขึ้นมาใช้ ความร้อนดังกล่าวอยู่ในแกนกลางของโลกเกิดขึ้นมาตั้งแต่โลกกำเนิดขึ้น อุณหภูมิอาจสูงถึง 5000 องศาเซลเซียส หรือที่อุณหภูมิ 9,932 องศาฟาเรนไฮท์ ซึ่งความร้อนนี้จะเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหืนหนืดขึ้นมาเรื่อย ๆ จนถึงเปลือกโลก ความร้อนดังกล่าวทำให้น้ำที่เก็บกักอยู่ในโพรงหิน มีอุณหภูมิร้อนขึ้นและอาจจะสูงถึง 370 องศาเซลเซียส แต่ทว่าความดันภายในโลกนั้นได้ดันน้ำขึ้นมาบนผิวดินทำให้เกิดการกลายเป็นไอลอยขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ แล้วตกลงมาเป็นฝนหรือหิมะจากนั้นไหลกลับลงไปใต้ดินนำความร้อนขึ้นมาอีกกลายเป็นการหมุนเวียนของกระแสความร้อนภายในโลก (Convection Cell) พลังงานนี้จึงถูกเรียกว่า พลังงานหมุนเวียน
นางสาวสุภัสสร จิตชัย ชั้นม.5/1 เลขที่ 34.