ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับฟิสิกส์ เรื่อง เสียง หากคุณกำลังมองหาเกี่ยวกับฟิสิกส์ เรื่อง เสียงมาเรียนรู้เกี่ยวกับหัวข้อฟิสิกส์ เรื่อง เสียงกับpakamasblog.comในโพสต์ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 12 เสียง ep.6 (เสียงกับการได้ยิน, การสั่นพ้อง)นี้.
Table of Contents
สังเคราะห์เนื้อหาที่เกี่ยวข้องฟิสิกส์ เรื่อง เสียงที่ถูกต้องที่สุดในฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 12 เสียง ep.6 (เสียงกับการได้ยิน, การสั่นพ้อง)
ที่เว็บไซต์Pakamasblogคุณสามารถเพิ่มข้อมูลอื่น ๆ นอกเหนือจากฟิสิกส์ เรื่อง เสียงสำหรับข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณ ที่เพจPakamasblog เราอัปเดตข้อมูลใหม่ ๆ ที่ถูกต้องให้คุณทุกวัน, ด้วยความปราถนาที่จะให้บริการคุณอย่างคุ้มค่าที่สุด ช่วยให้ผู้ใช้สามารถอัพเดทข้อมูลออนไลน์ได้อย่างละเอียดที่สุด.
ข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ฟิสิกส์ เรื่อง เสียง
เรื่องเสียง การได้ยิน การสะท้อน คุณสามารถเริ่มเรียนฟิสิกส์ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เทอมที่ 2 ได้แล้ว ฝากติดตามช่อง Physics by Teacher Note ด้วยนะครับ ดาวน์โหลดเอกสาร .
รูปภาพที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของฟิสิกส์ เรื่อง เสียง

นอกจากการอ่านเนื้อหาของบทความนี้แล้ว ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 12 เสียง ep.6 (เสียงกับการได้ยิน, การสั่นพ้อง) คุณสามารถอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมด้านล่าง
คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
ข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับฟิสิกส์ เรื่อง เสียง
#ฟสกส #ม5 #บทท #เสยง #ep6 #เสยงกบการไดยน #การสนพอง.
ฟิสิกส์,ม.5,บทที่12,เสียง,ครูโน้ต,เสียงกับการได้ยิน,การสั่นพ้อง,มลภาวะทางเสียง.
ฟิสิกส์ ม.5 บทที่ 12 เสียง ep.6 (เสียงกับการได้ยิน, การสั่นพ้อง).
ฟิสิกส์ เรื่อง เสียง.
เราหวังว่าการแบ่งปันที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการดูบทความของเราเกี่ยวกับฟิสิกส์ เรื่อง เสียง
การสั่นพ้องของเสียง
– นำไปใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ เช่น MRL เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นาย ศิวกร สามศรียา ม.5/1 เลขที่ 13
ความรู้เรี่องการสั่นพ้องของเสียง สามารถนำมาใช้ในการออกเเบบ สร้างไดอะเฟรมลำโพง และสำหรับการแพทย์
นายธีรภัทร ทนุการ ม.5/1 เลขที่7
การสั่นพ้องของเสียง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างไดอะแฟรมของลำโพงได้
นาย เอกราช เชื้อจีน เลขที่16 ม.5/1
การสั่นพ้องของเสียง สามมารถนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในด้านดนตรี การขึงเส้นให้มีเสียงที่เเตกต่างกัน , ทางด้านการแพทย์ การตรวจสมองด้วยเครื่องอัลตราซาวด์ MRI
นายมกร วงษ์เกิดศรี เลขที่ 10 ม.5/2
การสั่นพ้องเสียงนำมาใช้ประโยชน์ในการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึงเกิดคลื่นนิ่งในเส้นเชือกทำให้เกิดเสียงซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายทั้งหลายเช่นกีตาร์ซอไวโอลินเปียนโน
นางสาว ปฐิตา นิรันดร เลขที่23: 5/2
การสั่นพ้องของเสียง สามมารถนำไปใช้ประโยชน์
ด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง
ด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นางสาววรฤทัย เนียมหมวด เลขที่ 39 ม.5/2
การสั่งของพ้องของเสียง:นำไปใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ เช่น MRL เครื่องมือบันทึกภาพลงภาพทางการแพทย์เเละด้านเครื่องดนตรีการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง เช่น ไวโอลิน เปียโน
นายเจษฎาภรณ์ แซ่จึง เลขที่1 ม.5/2
การสั่นพ้องของเคียงสามารถนำไปใช้ประด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการเเพทยเเละด้านเครื่องดนตรีการสั่นของเส้นเชือกที่ขึกตึง เช่น เปียโน 🎹 ไวโอลิน 🎻
นางสาว มณฑณา สังข์อยู่ดี ม.5/2 เลขที่18🎸
การสั่นพ้องเสียงในท่อเรโซแนนซ์หรือหลอดเรโซแนนซ์
สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องบันทึกภาพทางการแพทย์ ทางด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือก เช่น เปียโน ไวโอลีน และการสร้าง ออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง
น.ส.ยุพาพรรณ จันทร์อ่ำ เลขที่28 ม.5/1
การสั่นพ้องของเสียง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเเพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการเเพทย์ การสร้าง diaphragm ไดอะแกรมเคลื่อนไหวเราก็จะได้สิ่งที่เรียกว่า ลำโพง (speaker)
นางสาวสุชาดา สามฉิมโฉม ม.5/1 เลขที่ 32
การสั่นพ้อง นำมาใช้ประโยชน์ในทาง
ด้านการแพทย์ ทำMRIเครื่องมือบันทึกภาพของทางด้านการแพทย์
และทางด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึงเป็นแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย
นางสาวภิญญดา ส่องประทีป ม.5/2 เลขที่28
การสั่นพ้อง≈ นำมาใช้ประโยชน์ในการสร้างหรือออกแบบไดอะเฟรมของลำโพง และการสั่นของ เส้นเชือกที่ขึงตึงเกิดคลื่นนิ่งในเส้นเชือกทำให้เกิดเสียง สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย
นางสาวธัญสินี ชัยเหี้ยม ม.5/2 เลขที่20
การสั่นพ้อง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องบันทึกภาพทางการแพทย์ และ การใช้ประโยชน์ทางด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือก เช่น เปียโน ไวโอลีน
นางสาวนงนุช ชื่นชมยิ่ง ม.5/1 เลขที่ 22
นำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆได้
ด้านดนตรีเช่น เป็นเเหล่งกำเนิดเสียงจากการสั่นของสายกีตาร์เป็นต้น
ด้านการเเพทย์ เช่น เครื่องมือบันทึกภาพทางการเเพทย์
นายธนกร อินทร ม.5/2 เลขที่ 6
การสั่นพ้องของเสียงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ได้เช่นการตรวจMRIตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและเนื้อเยื่อภายในได้
นางสาวปัทมา บุตรดี ม.5/2 เลขที่25
การสั่นพ้องของเสียง นำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเเพทย์ คือ MRI เป้นเครื่องมือบันทึกภาพทางการเเพทย์ที่สามารถให้ภาพคมชัดสูง
น.ส ปัญญาภรณ์ มีจั่นเพชร ม.5/1 เลขที่24
การสั่นพ้องเสียง นำมาใช้ประโยชน์ในการออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง
นางสาวอภิชดา สีหนู เลขที่35 ม5/1
คอเคลีย ทำหน้าที่รับรู้การสั่นของคลื่นเสียงที่ผ่านมาจากหูส่วนกลางพร้อมส่งสัญญาณการรับรู้ผ่านเส้นประสาทไปยังสมอง สมองจะทำหน้าที่แปลสัญญาณที่ได้รับทำให้เรารับรู้เกี่ยวกับเสียงที่ได้ยิน
นางสาวอภิชดา สีหนู เลขที่35 ม.5/1
การสั่นพ้องเสียง นำไปใช้ประโยชน์ในด้านดนตรี ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทสาย
นายชญานนท์ มณีบุตร ม.5/1 เลขที่ 4
การสั่นพ้องของเสียง นำไปใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ คือ MRI เป็นเครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์ที่สามารถให้ภาพความคมชัดสูง
นายอภิรักษ์ เหล่าสิม ม.5/1 เลขที่ 15
การสั่นพ้อง
- ด้านการแพทย์ ใช้ในการทำ MRI เครื่องมือบันทึกภาพด้านการแพทย์
- ด้านดนตรี เรื่องการสั่นของประเภทเครื่องสาย
นางสาวจุตฑามาส ไทรแก้ว เลขที่18 ม.5/1
การสั่นพ้องของเสียง – ใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นายธนกฤต กั้วะห้วยขวาง เลขที่5 ม.5/1
การสั่นพ้องเสียง: นำม่ใช้ประโยชน์ในด้านดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น ไวโอลีน และยังมาใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นางสาวกัญญาพัตร ขำสุวรรณ์ ม.5/2 เลขที่13
การสั่นพ้องของเสียงนำไปใช้ประโยชน์ คือ เป็นแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายทั้งหลาย เช่น กีตาร์ เป็นต้น
นางสาวสิริโสภา อยู่อินทร์ เลขที่34 ม.5/2
สุ่มเลขที่ 34 ม.5/2
คำถาม ขีดเริ่มของความเจ็บปวดหมายถึงอะไร
ตอบ คือความถี่และระดับความเข้มเสียงที่หูคนปกติสามารถรับรู้
นางสาวสิริโสภา อยู่อินทร์
การสั่นพ้อง📌 โดยการที่เราใช้คลื่นอัลตรซาวด์ที่มีความถี่ที่เท่ากับความถี่ธรรมชาติ โดยสามารถทำให้ก้อนนิ่วแตกสลายออกเป็นผง
นายสุธัช วงศ์อารีย์ ม.5/2 เลขที่12
การสั่นพ้องเสียงนำมาใช้ประโยชน์ในการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึงเกิดคลื่นนิ่งในเส้นเชือกทำให้เกิดเสียงซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายทั้งหลายเช่นกีตาร์ซอไวโอลินเปียนโน
นาย จิรายุทธ สร้อยยอดทอง ม.5/2 เลขที่ 5
การสั่นพ้องของเสียงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ คือ การนำมาออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง
นางสาววันวิสา ศรีสงวน ม.5/1 เลขที่ 31
การสั่นพ้องของเสียง (Resonance) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นางสาวดวงหทัย แซ่ลิ้ม ม.5/1 เลขที่21
การสั่นพ้องเสียง : นำมาใช้ประโยชน์ในด้านดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น เปียโน และยังนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์
นางสาวญาณภัทร อาจน้อย ม.5/1 เลขที่ 20
การสั่นพ้องของเสียง นำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างไดอะแฟรมของลำโพง
นางสาวจุฬาลักษณ์ ทองแท่งใหญ่ 5/1 19
การสั่นพ้องของเสียง:นำไปใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์และด้านเครื่องดนตรีการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง เช่น ไวโอลิน เปียโน
น.ส.ปณิศา เพชรประดับ เลขที่24 ม.5/2
ประโยชน์เรื่องการสั่นพ้อง ใช้ทางการแพทย์ เอ็มอาร์ไอ หรือ แมกเนติกเรโซแนนซ์ อิมเมจิ้ง หรือ เครื่องตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ตรวจดูอวัยวะภายในโดยไม่มีการใส่ส่วนของอุปกรณ์ใด ๆ เข้าไปในร่างกาย
นางสาว อรปรียา มูลสาร เลขที่ 37 ม.5/1
การสั่นพ้อง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการทำไดอะเฟรมของลำโพง
นางสาว ธันยพร หมื่นจง ม.5/2 เลขที่21
กล่องเสียงจะทำให้คลื่นเสียงจากเครื่องดนตรีสะท้อนไปมาอยู่ภายในกล่องนั้น และเมื่อมีคลื่นเสียงขบวนใหม่ที่มีความถี่ตรงกับความถี่ของขบวนเดิมที่สะท้อนอยู่ภายในเข้ามา คลื่นทั้งสองขบวนเกิดการเรโซแนนซ์กัน ได้เสียงกังวาน
นางสาวสุธีรา บุญรอด ม.5/1 เลขที่33
การสั่นพ้องเสียง นำมาใช้ในการออกเเบบไดอะเฟรมของลำโพง
นางสาวชลธิชา ชีวะธรรมรัตน์ ม.5/1 เลขที่39
การสั่นพ้องสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
โดยการใช้คลื่นอัลตรซาวด์ ซึ่งมีความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของการสั่นของนิ่วในไต ทำให้ก้อนนิ่วแตกสลายเป็นผงได้
นายจักรภัทร์ เพชรแอว ม.5/1 เลขที่ 2
การสั่นพ้องของเสียง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเเพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการเเพทย์เเละยังใช้ประโยชน์ในด้านตรี การสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง เช่น เปียโน
นางสาวจีราภรณ์ วิริยะการุณย์ ม.5/2 เลขที่ 15
ใช้ประโยชน์ได้โดยการสร้างและออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง
นายนรเศรษฐ์ บุญเรืองยศศิริ เลขที่ 9 ม.5/1
การสั่นพ้อง สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์และยังใช้ประโยชน์ในด้านดนตรี คือการสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง เช่น ไวโอลิน
น.ส.พัทธ์ธีรา ฉ่ำเกตุ เลขที่ 26 ม.5/1
การสั่นพ้องของเสียง:สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์และยังใช้ประโยชน์ในด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง เช่น เปียโน ไวโอลิน
นางสาว มัญชุพร สรงพรมทิพย์ ชั้น5/2 เลขที่29
การใช้หลักเรโซแนนซ์สลายนิ่วในไต
โดยการใช้คลื่นอัลตรซาวด์ ซึ่งมีความถี่เท่ากับความถี่ธรรมชาติของการสั่นของนิ่วในไต เราสามารถทำให้ก้อนนิ่วแตกสลายออกเป็นผงได้
นาย ธีรภัทร ล่าบ้านหลวง เลขที่7 ม.5/2
หลอดเรโซแนนซ์หรือการสั่นพ้องของเสียงนำไปใช้ประโยชน์อย่างไร?
นำไปใช้ได้โดยการสลายนิ่วให้ผู้ป่วยด้วยวิธีการใช้หลักการทำให้เกิดเรโซแนนซ์ระหว่างอัลตราชาวด์ กับ ก้อนนิ่วทำให้ก้อนนิ่วนั้นเกิดการสั่นและแตกตัวเป็นชิ้นเล็กจนสามารถขับถ่ายออกมาพร้อมกับปัสสาวะ
นางสาวสุภัสสร จิตชัย ชั้นม.5/1 เลขที่ 34.
– สุ่มเลขที่ห้อง1 เลขที่ 34 –
ขีดเริ่มของความเจ็บปวดหมายถึงอะไร?
หมายถึงเป็นค่าความถี่และระดับความเข้มเสียงสูงสุดที่หูคนปกติสามารถทนฟังได้
นางสาวสุภัสสร จิตชัย ชั้นม.5/1 เลขที่ 34.
📌การสั่นพ้องของเสียง : สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์และในด้านเครื่องดนตรีการสั่นของเส้นเชือก เช่น เปียนโน
น.ส.สุทธิดา ล่าบ้านหลวง เลขที่35 ม.5/2
การสั่นพ้องของเสียง สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการทำไดอะเฟรมของลำโพง
นางสาว ขวัญจิรา อุ้ยคำตา ม.5/2 เลขที่19
👂{สุ่มเลขที่35 ห้อง2}🦻
คอเคลีย ทำหน้าที่รับรู้การสั่นของคลื่นเสียงที่ผ่านมาจากหูส่วนกลางพร้อมกับส่งสัญญาณโดยผ่านการรับรู้เส้นประสาทไปยังสมอง
น.ส.สุทธิดา ล่าบ้านหลวง เลขที่35 ม.5/2
การสั่นพ้องเสียงในท่อเรโซแนนซ์หรือหลอดเรโซแนนซ์ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยการสร้างและออกแบบไดอะแฟรมของลำโพง
นางสาวอลิสา ปิ่นทอง ม.5/1 เลขที่ 38.
***การสั่นพ้อง Resonance
นำมาใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์ เช่น MRI เครื่องมือบันทึกภาพทางการแพทย์และยังใช้ประโยชน์ในด้านดนตรี การสั่นของเส้นเชือกที่ขึงตึง Ex. เปียโน ไวโอลิน เป็นต้น
นางสาว พัชรพร สูงสันเขต ม.5/2 เลขที่ 26