หัวข้อของบทความนี้จะเกี่ยวกับกรานกฐิน หมายถึง หากคุณต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับกรานกฐิน หมายถึงมาสำรวจกันกับpakamasblog.comในหัวข้อกรานกฐิน หมายถึงในโพสต์พระจำพรรษารูปเดียวรับกฐินได้หรือไม่? FAQ โดยพระมหาภาคภูมิ สีลานนฺโทนี้.
Table of Contents
สรุปเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับกรานกฐิน หมายถึงในพระจำพรรษารูปเดียวรับกฐินได้หรือไม่? FAQ โดยพระมหาภาคภูมิ สีลานนฺโทล่าสุด
ที่เว็บไซต์Pakamas Blogคุณสามารถเพิ่มเอกสารอื่น ๆ นอกเหนือจากกรานกฐิน หมายถึงเพื่อข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่ามากขึ้นสำหรับคุณ ที่เว็บไซต์Pakamas Blog เราอัพเดทข่าวใหม่และแม่นยำทุกวันสำหรับคุณ, ด้วยความหวังว่าจะให้ข้อมูลที่ถูกต้องที่สุดสำหรับคุณ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถอัปเดตข้อมูลออนไลน์ได้อย่างสมบูรณ์ที่สุด.
ข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่กรานกฐิน หมายถึง
#พระจำพรรษารับกฐินได้ไหม? สอนระเบียบวินัยเกี่ยวกับกฐิน ทั้งในขั้นตอนกฐิน พระที่มีสิทธิรับกฐินและครอบครัว บทความที่ควรอ่าน *วินิจฉัยกฐิน *การตัดสินภิกษุรูปเดียวที่จำพรรษาหรือไม่ได้กฐิน? *ไขข้อข้องใจ กฐินครอบครัว คืออะไร จำเป็นหรือไม่? * ณ วัดดอนคำพวง ต.ทรายมูล อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี # อธิบายประเด็นสำคัญ หลักฐานจากจีวรที่ยกมาในพระบาลีว่า ผ้าที่เขาถวายไม่ใช่ผ้ากฐิน แต่เป็นหลักฐานว่าภิกษุจำพรรษาแต่ผู้เดียวได้กระทำกฐินแล้ว. ทำไมคุณถึงรู้ว่า? ตอบว่า เพราะพระองค์ตรัสว่า “ผ้าผืนนี้ เป็นของท่านเท่านั้นถึงกาลทอดกฐิน” อันเป็นอานิสงส์แห่งกฐินประการที่ ๕ คือ จีวรที่ถวายแก่ภิกษุในจีวรจะถึงผู้อยู่จำพรรษา วัดนั้นเท่านั้น. ซึ่งเรื่องนี้สำหรับคนที่จำฤดูฝนในภาพเดียวนั้น หากเก็บไว้เกิน 10 วัน ผ้าจะเป็น nissac key สามารถแก้ไขได้แม้ไม่ได้ตัดผ้าหรือไม่ตัดทุกชิ้น สวดมนต์เป็นผ้าไตรจีวร แต่ต้องอาบัติทุกกฏเพราะใช้ผ้าไม่ตัด (ดู วิ.มหา.5/345/149) นาทีที่ 26.35 และ นาทีที่ 30.34 ในคลิปพูดผิดเรื่องผ้าที่เขาถวายพระ ภิกษุว่าเป็นผ้ากฐิน แก้เป็น #ผ้ากาสาวพัสตร์ อ่านบทความพระวินัยตามนัยแห่งพระไตรปิฎกและอรรถกถา ฯลฯ ได้ที่
ภาพบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของกรานกฐิน หมายถึง

นอกจากการอ่านข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้ พระจำพรรษารูปเดียวรับกฐินได้หรือไม่? FAQ โดยพระมหาภาคภูมิ สีลานนฺโท คุณสามารถดูเนื้อหาเพิ่มเติมด้านล่าง
บางแท็กเกี่ยวข้องกับกรานกฐิน หมายถึง
#พระจำพรรษารปเดยวรบกฐนไดหรอไม #FAQ #โดยพระมหาภาคภม #สลานนโท.
พุทธศาสนา,กฐิน,จีวร,จำพรรษา,ภิกษุ,พระ,พระไตรปิฎก,อรรถกถา,วินัย,บริวารกฐิน,สิทธิ์,ทอดกฐิน,รูปเดียว,ไตรจีวร,ไตรครอง,บริขารโจล,เงิน,ออกพรรษา.
พระจำพรรษารูปเดียวรับกฐินได้หรือไม่? FAQ โดยพระมหาภาคภูมิ สีลานนฺโท.
กรานกฐิน หมายถึง.
หวังว่าการแบ่งปันที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ ขอขอบคุณที่อ่านบทความของเราเกี่ยวกับกรานกฐิน หมายถึง
#วินิจฉัยเรื่องภิกษุจำพรรษารูปเดียวรับกฐินได้หรือไม่?
ปัจจุบัน มีชาวพุทธจำนวนมากทั้งที่เป็นภิกษุและฆราวาส เข้าใจว่าจะรับกฐินได้ ต้องมีพระจำพรรษา ๕ รูปขึ้นไป แต่จริงๆ แล้ว เป็นอย่างนั้นหรือไม่? จะยกหลักฐานในเรื่องนี้มาให้ดูบางส่วนดังนี้ :-
#เรื่องภิกษุจำพรรษารูปเดียว
สมัยนั้น #ภิกษุรูปหนึ่งอยู่จำพรรษารูปเดียว คนทั้งหลายในถิ่นนั้นได้ถวายจีวรด้วยกล่าวว่า “พวกเรา #ขอถวายแก่สงฆ์” ต่อมา ภิกษุนั้นได้มีความคิดดังนี้ว่า “พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติไว้ว่า ‘ภิกษุมี ๔ รูปเป็นอย่างน้อย ชื่อว่าสงฆ์’ แต่เรามีผู้เดียว และคนเหล่านี้ได้ถวายจีวรด้วยกล่าวว่า ‘พวกเราขอถวายแก่สงฆ์’ อย่ากระนั้นเลย เราพึงนำจีวรของสงฆ์เหล่านี้ไปกรุงสาวัตถี” แล้วได้นำจีวรเหล่านั้นไปยังกรุงสาวัตถี ได้กราบทูลเรื่องนี้ให้พระผู้มีพระภาคทรงทราบ
พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
“ภิกษุ #จีวรเหล่านั้นเป็นของเธอผู้เดียวจนถึงคราวเดาะกฐิน
ภิกษุทั้งหลาย แต่ในกรณีนี้มีภิกษุจำพรรษารูปเดียว คนทั้งหลายในถิ่นนั้นได้ถวายจีวรด้วยกล่าวว่า ‘พวกเราขอถวายแก่สงฆ์’ ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตจีวรเหล่านั้นแก่เธอรูปเดียวจนถึงคราวเดาะกฐิน”
(วิ.มหา.๕/๓๖๓/๒๐๙-๒๑๐ จีวรขันธกะ)
หมายเหตุ : ถ้าภิกษุรูปที่จำพรรษารูปเดียวนั้นกรานกฐินไม่ได้ พระองค์ก็ไม่ทรงจำเป็นต้องตรัสว่า "จนถึงคราวเดาะกฐิน" เลย
#อรรถกถา
คำว่า #จีวรเหล่านั้นเป็นของเธอผู้เดียว มีความว่า จีวรเหล่านั้นแม้ที่เธอถือนำไปแล้วในที่อื่น ย่อมเป็นของเธอเท่านั้น, ใครๆ อื่นไม่เป็นใหญ่แห่งจีวรเหล่านั้น. ก็ครั้นตรัสอย่างนั้นแล้วจึงตรัสคำว่า อิธ ปน เป็นอาทิ เพื่อแสดงว่า แม้ในอนาคต ภิกษุทั้งหลายจักเป็นผู้ไม่มีความสงสัยถือเอา
คำว่า #จีวรเหล่านั้นแก่เธอรูปเดียวจนถึงคราวเดาะกฐิน มีความว่า หากว่า #ได้ภิกษุครบคณะ (เพื่อมาทำสังฆกรรมสวดมอบผ้ากฐิน) กฐินเป็นอันกรานแล้ว จีวรเหล่านั้นเป็นของเธอตลอด ๕ เดือน ถ้าไม่ได้กรานกฐิน ตลอดเดือนจีวรเดือนเดียวเท่านั้น (วิ.อฏฺ.๓/๒๒๐)
หมายเหตุ : ภิกษุรูปนี้มิได้กรานกฐินด้วยผ้านั้น แต่ได้กรานกฐินมาก่อนแล้ว โดยในเรื่องนี้เป็นการแสดงถึงวิธีการบริหารผ้าของภิกษุผู้ได้อานิสงส์กฐินข้อที่ ๕
***ถ้าภิกษุผู้จำพรรษาแรกมี ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป หรือ ๑ รูป ก็พึงทำภิกษุนอกนี้ให้เป็นคณปูรกะแล้วกรานกฐินได้ (คำว่า ภิกษุนอกนี้ หมายถึง ภิกษุผู้ขาดพรรษา ภิกษุผู้จำพรรษาหลัง และภิกษุผู้จำพรรษาในวัดอื่น ที่ท่านได้กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้) (วิ.อฏฺ.๓/๑๙๒)
#สรุป
จากหลักฐานที่ยกมา จะเห็นได้ว่า ภิกษุจำพรรษารูปเดียวก็รับกฐินได้ เพียงแต่ในตอนสวดกรรมวาจามอบผ้า ต้องนิมนต์พระมาสวดมอบผ้ากฐินให้เท่านั้น เพราะการมอบผ้ากฐินเป็นญัตติทุติยกรรม
จิรํ ติฏฺฐตุ สทฺธมฺโม
ขอพระสัทธรรมจงดำรงมั่นตลอดกาลนาน
สาธุขออนุญาตแชร์ครับความรู้
พระพุทธเจ้าย่อมไม่บัญญัติวินัยกลับไปกลับมา รูปเดียวรับผ้าจะเป็นสังฆทานได้อย่างไร วัดอื่นมาสวดมอบผ้าให้ จะทำได้อย่างไร เพราะไม่มีส่วนร่วมในการเป็นเจ้าของ อย่างวินิจฉัยเลอะเทอะ เอาแค่เหตุผลสามัญสำนึกมันก็ไม่ได้ แล้วพระรูปเดียวมันจะตัดเย็บ ย้อม ทันรึ
ท่านนั่นแหละ แปลความหมายผิด
ผ้าเดี๋ยวนี้มีมากมาย ไม่จำเป็นจะต้องรับผ้ากฐินทุกปี สิ่งที่ต้องการคือเงิน
มีพระรูปเดียวจะเย็บย้อม ตัดทันหรือ
ถามครับ
สรุป ผิดกันทั้งประเทศเป็นส่วนมาก ศาสนาพุทธเป็นศาสนาที่ให้อภัยไม่ว่าใคร ใครผิดวินัยก็เรื่องของท่าน ภาษาที่เราเข้าใจคำว่า "บาป"ก็เรื่องของท่าน เพราะฉะนั้นอยู่ที่ตัวผู้แสวงบุญเองว่ามีปัญญาพิจารณาหรือไม่ที่จะบำรุงพระศาสนา
มีโยมบางท่านว่าพระไม่ควรจับเงิน ขอถามทีเถอะพระเรียนต้องเสียเงินชื้อของใช้จำเป็นต้องใช้ปัจจัยทั้งนั้น นาๆทัษนะจริงๆ
เอาบทกฐินกับบทบทชีวรมารวมกันเลยแปลความหมายมารวมกันจนจบได้แบบมั่วๆ บทกฐินก็ว่าแต่กฐินจึงจะถูก คณะปูรกะวกไปวนมา ไปไหม
พูดแล้ววกไปวนมาไม่เข้า ใจมหา
ชาวพุทธ ทั้งหลายควรตื่น ควรเลือกทำในวัดที่กันดารจริงๆบางวัดไม่มีเลยกฐินหลายๆปีที่ผ่านมาน่าสงสาร
กฐินแบบฟุ้งเฟ้อ มีเยอะทำเพื่อให้ได้หน้า พอได้พุ่มเยอะๆก็ลงเฟส คุยและอวดกันยิ่งได้ปัจจัยเยอะจะยิ่งได้หน้า
นมัสสการ พระคุณเจ้า อ้างอิงดีๆ ตามคัมถีร์ อย่าโชว์พราว
บ้านข้อย เจ้าคุณ ปธ.๙ แอนด์ อภิธรรมบัณฑิต ๒สำนัก ยังไม่ออกตัวเลย ขอรับ
ท่านก็โลกสวย ลองอฐิญานที่สถานี bts. หรือเงื้อมผา ได้ไมครับ
พุทธทาสภิกขุ ไม่เคยรับกฐิน เท่าที่รู้
สำคัญที่เงินนั่นล่ะ ทั้งงานทอดผ้ากฐิน งานทอดผ้าป่า ชาวพุทธแท้ๆที่มีปัญญาตามแนวมรรค8เขาไม่เอาเรื่องเงินไปปะปนกับกับผ้ากฐิน ผ้าป่ากันหรอก มีแต่ชาวพุทธปลอม ที่ยังติดข้องอยู่กับตัณหา และชาวพุทธที่ไม่ศึกษาพระธรรม(พุทธวจน)หลงเชื่อคำสอนผิดๆของพระภิกษุอลัชชีเท่านั้น ที่ทำกัน
ขออนุญาตถามพระอาจารย์พระวินัยห้ามไม่ให้หุ่งต้ม ทำอาหารเองไม่ได้ ถ้าภิกษุอยู่ไกลจากหมู่บ้านและเก็บอาหารไว้กินก็ไม่ได้ ท่านจะทำอย่างไร จะอดข้าวตายหรอ หรือจะหย่อนพระวินัยบ้างเพียงแต่ทำอาหารฉันเองได้ ถ้าไม่มีคนทำถวายให้ฉันได้ ครับ พระพุทธองค์ก็อนุญาตอยู่แล้ว
เพราะจำเป็น หรือท่านมีความเห็นว่าอย่างไรครับ
ถ้าพระจำพรรษา6รูปละ
พูดไว้เกิน ลิ้นรัว ๆ